ทรัพยากรบุคคล



อาจารย์ ดร.ธนิกา วศินยานุวัฒน์





การศึกษา

  • ปี 2552         หลักสูตร วิทยาศาสตรบัณฑิต (ชีววิทยา)         มหาวิทยาลัยทักษิณ         ประเทศไทย
  • ปี 2554         หลักสูตร วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต (ชีววิทยา)         มหาวิทยาลัยทักษิณ         ประเทศไทย
  • ปี 2563         หลักสูตร ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต (วิทยาศาสตร์ศึกษา)         มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์         ประเทศไทย

ประวัติ

ปร.ด. (วิทยาศาสตร์ศึกษา) มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, 2563

วท.ม. (ชีววิทยา) มหาวิทยาลัยทักษิณ, 2554

วท.บ (ชีววิทยา) มหาวิทยาลัยทักษิณ, 2552


ความเชี่ยวชาญ

  1. Vasinayanuwatana, T., & Plianram, S. (2023). Biomimicry in STEM Education: Case Study of Developing Pre-service Biology Teachers' Integrative Teaching Competence. Research in Integrated STEM Education, 1, 311–335. 
  2. Vasinayanuwatana, T. (2022). “Online Inquiry-based Instruction: Multiple Implementations Approaches by Biology Preservice Teachers During Covid-19,” In 2022 The Redesigning Pedagogy International Conference (RPIC_482), May 30, –June 1, National Institute of Education, Nanyang Technological University.
  3. Vasinayanuwatana, T., Teo, T. W., & Ketsing, J. (2021). Shura-infused STEM professional learning community in an Islamic School in Thailand. Cultural Studies of Science Education, 16, 109–139.
  4. Pongsophon, P., Pinthong, T., Lertdechapat, K. & Vasinayanuwatana, T. (2021). Science Teachers' Understanding of Engineering Design Process through Workshop on Biomimicry for Green Design. Srinakharinwirot Science Journal, 37(1), 56-57.
  5. ธนิกา วศินายนุวัฒน์. (2566). แนวโน้มการวิจัยด้านสะเต็มศึกษาในบริบทของไทย. วารสารมหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา, 18(1), 24-32.
  6. ธนิกา วศินยานุวัฒน์ และ อรุณรัศมิ์ วณิชชานนท์. (2565). นวัตกรรมเลียนแบบธรรมชาติ: อีกทางเลือกของสะเต็มศึกษาทางชีววิทยา. วารสารศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี. 33(1), 1-11. 
  7. กนกกร บุญญกาศ, ธนิกา วศินยานุวัฒน์, และเจ๊ะอับเซ๊าะ กาสาเอก. (2566). การพัฒนาทักษะผู้ประกอบการของนักเรียนด้านความคิดสร้างสรรค์และนวัตกรรม ในหน่วยการเรียนรู้เรื่องระบบร่างกายด้วยสะเต็มศึกษา. ใน การประชุมวิชาการระดับชาติศึกษาศาสตร์วิจัย มหาวิทยาลัยนเรศวร ครั้งที่ 10 วันที่ 2-3 พฤษภาคม 2566 ณ มหาวิทยาลัยนเรศวร จังหวัดพิษณุโลก. 
  8. สุพิชชา อนันต์ประเสริฐ, ธนิกา ศวินยานุวัฒน์, สิงหา ประสิทธิ์พงศ์, และสำเร็จ สระขาว.(2566). การพัฒนาทักษะการคิดสร้างสรรค์ของนักเรียนในหน่วยการเรียนรู้เรื่องการหายใจระดับเซลล์และระบบย่อยอาหารด้วยสะเต็มศึกษา. ใน การประชุมวิชาการระดับชาติศึกษาศาสตร์วิจัย มหาวิทยาลัยนเรศวร ครั้งที่ 10 วันที่ 2-3 พฤษภาคม 2566 ณ มหาวิทยาลัยนเรศวร จังหวัดพิษณุโลก.
  9. กัญญาภรณ์ นับทอง, ธนิกา วศินยานุวัฒน์, และสิงหา ประสิทธิ์พงศ์. (2566). การพัฒนาทักษะการแก้ปัญหาของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 โดยใช้สะเต็มศึกษาแบบ 6E Learning เรื่อง พันธุศาสตร์. ใน การประชุมวิชาการระดับชาติศึกษาศาสตร์วิจัย มหาวิทยาลัยนเรศวร ครั้งที่ 10 วันที่ 2-3 พฤษภาคม 2566 ณ มหาวิทยาลัยนเรศวร จังหวัดพิษณุโลก.
  10. ธิติญา ชูสุ่น, ธนิกา วศินยานุวัฒน์, และสิริลักษณ์ ดวงตา. (2566). การพัฒนาทักษะการโต้แย้งทางวิทยาศาสตร์ของนักเรียนผ่านการจัดการเรียนรู้แบบสืบเสาะหาความรู้ที่ขับเคลื่อนโดยกลวิธีการโต้แย้งในวิชาชีววิทยา. ใน การประชุมวิชาการระดับชาติศึกษาศาสตร์วิจัย มหาวิทยาลัยนเรศวร ครั้งที่ 10 วันที่ 2-3 พฤษภาคม 2566 ณ มหาวิทยาลัยนเรศวร จังหวัดพิษณุโลก.
  11. ภัคจิรา บัวนวล, ธนิกา วศินยานุวัฒน์, และสุมณฑา เอมเอก. (2566). การพัฒนาทักษะการโต้แย้งทางวิทยาศาสตร์ของนักเรียนโดยใช้ประเด็นทางสังคมที่เกี่ยวเนื่องกับวิทยาศาสตร์. ใน การประชุมวิชาการระดับชาติศึกษาศาสตร์วิจัย มหาวิทยาลัยนเรศวร ครั้งที่ 10 วันที่ 2-3 พฤษภาคม 2566 ณ มหาวิทยาลัยนเรศวร จังหวัดพิษณุโลก.
  12. อรรถกร  สุขรัตน์ และ ธนิกา  วศินยานุวัฒน์. (2564). “การศึกษาความสามารถในการสร้างแบบจำลองทางวิทยาศาสตร์ เรื่อง การจำลองดีเอ็นเอ ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 ผ่านแอพลิเคชัน Stop Motion Studio,” ใน การประชุมวิชาการระดับชาติ Teacher Education Conference (ครั้งที่ 1) 27-28 พฤศจิกายน 2564 มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี.
  13. สิทธิชัย จันทร์กุล และ ธนิกา  วศินยานุวัฒน์. (2565). “ภาพวาดสื่อความหมาย: กรณีศึกษาของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 โรงเรียนสทิงพระวิทยาม.” ใน งานประชุมวิชาการนวัตกรรมครูระดับชาติ ครั้งที่ 5 การศึกษาเพื่อนวัตกรรมสังคมความรู้เพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน 26 มีนาคม 2565 มหาวิทยาลัยทักษิณ. (น.764-773)
  14. อรบุษย์ หนักแน่น, สิงหา ประสิทธิ์พงศ์ และ ธนิกา วศินยานุวัฒน. (2565). “ผลการพัฒนาทักษะการคิดอย่างมีวิจารณญาณของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 ผ่านการจัดการเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นฐานในรูปแบบการสอนออนไลน์เรื่องโมเมนตัมและการชน.” ใน การประชุมวิชาการระดับชาติศึกษาศาสตร์วิจัย ครั้งที่ 9 (น. 2676-2691). 19-20 พฤษภาคม 2565 มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี.
  15. อณัศยา เหล็มขุน, สิงหา ประสิทธิ์พงศ์, อรุณรัศมิ์ วณิชชานนท์ และ ธนิกา วศินยานุวัฒน์. (2564). “การ   พัฒนาการให้เหตุผลเชิงวิทยาศาสตร์ ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 โดยใช้รูปแบบการจัดการเรียนการสอนแบบการสร้างข้อโต้แย้ง,” ใน การประชุมวิชาการบัณฑิตศึกษาระดับชาติ (ครั้งที่ 18) 31 พฤษภาคม 2564 มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี (น. 258-265). กรุงเทพมหานคร: สมาคมรัฐศาสตร์แห่งมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.
  16. บุณยาพร ยอดรัตน์, สิงหา ประสิทธิ์พงศ์, อรุณรัศมิ์ วณิชชานนท์ และ ธนิกา วศินยานุวัฒน์. (2564). “การพัฒนาการคิดอย่างมีวิจารณญาณผ่านการจัดการเรียนรู้แบบสืบเสาะ เรื่อง ความหลากหลายทางชีวภาพ ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5,” ใน การประชุมวิชาการบัณฑิตศึกษาระดับชาติ (ครั้งที่ 18) 31 พฤษภาคม 2564 มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี (น. 298-304). กรุงเทพมหานคร: สมาคมรัฐศาสตร์แห่งมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.
  17. ธนิกา วศินายนุวัฒน์, ธัญวรัตน์ ปิ่นทอง และชาตรี ฝ่ายคำตา. (2561). “แนวโน้มปัจจุบันของการผลิตและพัฒนาครูวิทยาศาสตร์,” วารสารบัณฑิตศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรม  ราชูปถัมภ์, 12(2), 82-104.
  18. ธนิกา วศินายนุวัฒน์ และ ชาตรี ฝ่ายคำตา. (2561). “ความเข้าใจต่อการสืบเสาะหาความรู้ของนิสิตครูวิทยาศาสตร์,” วารสารมหาวิทยาลัยนราธิวาสราชนครินทร์ สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์, ฉบับพิเศษ (5), 62-72.

 

 


...